ความถี่สัมพัทธ์ของเหตุการณ์ E คือ จะมีค่าเข้าใกล้ความน่าจะเป็นของ E เมื่อ N มีค่าเพิ่มขึ้น นั่นคือ
และเราจะใช้ P(E) = โดยประมาณเมื่อ N มีค่ามาก ๆ
2.การจัดลำดับ คือการจัดของทั้งหมดที่มีอยู่หรือจัดของแต่ละส่วนโดยคำนึงถึงลำดับ เช่น ในการจัดลำดับอักษร a, b และ c ทั้ง 3 ตัว จะจัดได้ 6 วิธี คือ abc, acb, bac, bca, cab, cba แต่ถ้านำมาจัดเพียง 2 ตัว จะจัดได้ 6 วิธี คือ ab, ba, ac, ca, bc, cb
3.การจัดหมู่ คือการจัดของทั้งหมดที่มีอยู่ หรือจัดบางส่วน โดยไม่คำนึงถึงลำดับ
เช่น มีอักษร 3 ตัว a, b, c นำมาจัดหมู่ ๆ ละ 2 ตัว จะจัดได้ 3 วิธีคือ a กับ b, a กับ c, b กับ c
4.เหตุการณ์ A และ B เรียกว่าเป็นอิสระต่อกันก็ต่อเมื่อ
P(A|B) = P(A) และ P(B|A) = P(B)
กล่าวคือ P(AÇB) = P(A)P(B)
5.ถ้า A และ B เป็นอิสระต่อกัน จะได้ว่า
1. Aข และ B เป็นอิสระต่อกัน
2. A และ Bข เป็นอิสระต่อกัน
3. Aข และ Bข เป็นอิสระต่อกัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น