2.ในการทอดลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็นที่จะได้ผลบวกของแต้มบนลูกเต๋าทั้ง 2 ลูก เป็น 7
วิธีทำ ให้ (x,y) แทนผลการทดลองที่ได้แต้ม x จากลูกแรก และแต้ม y จากลูกที่สอง
แซมเปิลสเปซคือ S = { (1,1) (1,2) (1,3) (1,4) (1,5) (1,6)
(2,1) (2,2) (2,3) (2,4) (2,5) (2,6)
(3,1) (3,2) (3,3) (3,4) (3,5) (3,6)
(4,1) (4,2) (4,3) (4,4) (4,5) (4,6)
(5,1) (5,2) (5,3) (5,4) (5,5) (5,6)
(6,1) (6,2) (6,3) (6,4) (6,5) (6,6)}
ให้ E เป็นเหตุการณ์ที่ได้ผลบวกของแต้มเป็น 7
E = {(1,6) (2,5) (3,4) (4,3) (5,2) (6,1)}
ดังนั้น P(E) = จำนวนแซมเปิลพ้อยท์ของ E
จำนวนแซมเปิลพ้อยท์ของ S
=
=
ตัวอย่างที่ผ่านมาแสดงการคำนวณความน่าจะเป็นจากการนับจำนวนแซมเปิลพ้อยต์ วิธีนี้เรียกว่า วิธีคลาสสิค (Classical Method)
ดังนั้น P(E) = จำนวนแซมเปิลพ้อยท์ของ E
จำนวนแซมเปิลพ้อยท์ของ S
การคำนวณความน่าจะเป็นของเหตุการณ์บางอย่างจะต้องทำการทดลองจริง วิธีนี้เรียกว่า วิธีการสังเกตจากการทดลอง (Empirical Method)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น